Page 4 - ตู้พระไตรปิฎก มรดกประณีตศิลป์
P. 4

“ตู้ลายรดน�้าฝีมือครูวัดเชิงหวาย” ได้รับ     “ก�ามะลอ” เป็นลายประณีตศิลป์อีก

            การยกย่องว่าเป็นศิลปะชั้นเอกที่เลิศล�้าวิจิตร  แขนงหนึ่งที่ปรากฏบนตู้พระธรรม ซึ่ง น. ณ
            ด้วยฝีมือชั้นครูของสกุลช่างวัดเชิงหวายที่มี     ปากน�้า กล่าวไว้ในพจนานุกรมศิลปะว่า “ลาย

            ชื่อเสียงในสมัยอยุธยา นอกจากลายเส้นที่คมชัด  ก�ามะลอ คือ ลายทองรดน�้า แล้วเอารักผสม
            และความพลิ้วไหวของปลายลวดลายกระหนก           สีฝุ่นและชาดระบายผสมลงไปกับลายทอง
            ประดุจเปลวเพลิงแล้ว ช่างฝีมือยังได้สอดแทรก   บนผนังที่ลงพื้นรักไว้ ท�าให้เกิดภาพสวยงามมาก

            ภาพสัตว์ เช่น นก กระรอก ผีเสื้อ ที่ดูมีชีวิต  มักนิยมท�ากับตู้พระไตรปิฎกและเครื่องใช้
            เคลื่อนไหวอย่างเป็นธรรมชาติไว้ในลวดลาย     ไม้สอยเล็ก ๆ เช่น ตะลุ่มและพาน เป็นต้น”
            ที่สอดคล้องกลมกลืนไปกับความพลิ้วไหวของ       สันนิษฐานว่า  ลายก�ามะลอมีมาตั้งแต่ครั้ง

            ลายกระหนกได้อย่างลงตัว บ่งบอกถึงอัจฉริยภาพ   ปลายสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี โดย
            เชิงช่างของครูศิลป์แต่โบราณ อีกทั้งในด้าน  รับอิทธิพลจากศิลปะจีน สาเหตุที่ท�าให้ลาย
            องค์ประกอบและช่องไฟยังถือเป็นต้นแบบ      ก�ามะลอเป็นที่ยอมรับอาจเป็นเพราะแต่เดิม

            ให้แก่งานลายรดน�้าในยุคต่อ ๆ มาอีกด้วย  คนไทยรู้จักเพียงลายรดน�้าที่มีเพียงสีทอง
            ปัจจุบันตู้ลายรดน�้าฝีมือครูวัดเชิงหวายจัดแสดง  บนพื้นสีด�าหรือแดงแต่เพียงอย่างเดียว จึงน�า

            อยู่ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร จ�านวน  จิตรกรรมจีนที่สีสันหลากหลายแปลกตามา
            ๒  ตู้  โดยตู้แรกเป็นตู้ฐานสิงห์ตกแต่งด้วย   ประยุกต์ตามอุดมคติไทย ลวดลายประดิษฐ์
            ลวดลายกระหนกเปลวเครือเถา ส่วนตู้ที่สอง       ตามอย่างแบบจีนแบบเดิม เช่น ภาพเซี่ยวกาง

            ตกแต่งด้วยลายกระหนกรวง                       ยืนบนสิงโตจีน ลายดอกโบตั๋น ได้รับการพัฒนา
                                                         ผสมผสานตามอุดมคติแบบไทย อาทิ ภาพ

                                                         กินรา กินรี ตัวนรสิงห์ ลวดลายกระหนก
                                                         เปลวหางกินรี ดังที่ปรากฏอยู่บนตู้พระธรรม
                                                         เป็นต้น

                                                               ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น  ศิลปะ
                                                         ลายก�ามะลอเริ่มมีความเด่นชัดในรูปแบบ มี
                                                         ความเป็นเอกลักษณ์อย่างไทยมากยิ่งขึ้น โดย

                                                         การน�าเอาเรื่องราวในวรรณคดีไทยมาเขียน
                                                         เล่าเรื่อง เช่น เรื่องรามเกียรติ์บนตู้พระไตรปิฎก
                                                         ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ส่วน

                                                         ลวดลายบนตู้พระไตรปิฎกในพิพิธภัณฑสถาน
                                                         แห่งชาติ จันทรเกษม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

                                                         เป็นเรื่องเกี่ยวกับชาดกต่าง ๆ เป็นต้น






               ตู้ลายรดน�้าฝีมือครูวัดเชิงหวาย สอดแทรก
                 ภาพสัตว์นานาชนิดที่เคลื่อนไหวไปตาม
                 ความพลิ้วไหวของลวดลายอย่างลงตัว                      มีนาคม ๒๕๕๙ อยู่ในบุญ  67



                                                     67
   1   2   3   4   5   6