Page 2 - ตู้พระไตรปิฎก มรดกประณีตศิลป์
P. 2

อาจกล่าวได้ว่า ศาสนาเป็นบ่อเกิดของ      และแช่มช้อย เพื่อบอกเล่าเรื่องราวค�าสอนใน

            ศิลปะอันวิจิตร ด้วยแรงรักแรงศรัทธาของ        พระพุทธศาสนาผ่านลวดลายต่าง ๆ เช่น   ลาย
            พุทธศาสนิกชนผู้ปรารถนาอุทิศตนสร้างผลงาน      รดน�้า ลายก�ามะลอ ลวดลายเหล่านี้ประดับ

            อันวิจิตรงดงามสะท้อนผ่านพุทธศิลป์ชั้นเลิศ  ตกแต่งส่วนต่าง ๆ ของตู้ ตั้งแต่หัวเม็ดทรงมัณฑ์
            ด้วยฝีมือชั้นครูของช่างหลายแขนง ส�าหรับงาน   คือ ส่วนยอดด้านบนทั้งสี่มุมจรดเสาขาตู้ด้านล่าง
            ประณีตศิลป์บนตู้พระไตรปิฎกหรือตู้พระธรรม     โดยพื้นที่หลักของลวดลาย  คือ  ด้านหน้า

            นั้น เป็นอีกหนึ่งตัวอย่างของจิตรกรรมชั้นสูง   ช่วงบานประตูซ้ายขวา ส่วนด้านหลังตู้และ
            ที่เกี่ยวเนื่องกับศาสนวัตถุ ที่ปราชญ์ผู้มีฝีมือช่าง  ภายในตู้ส่วนที่เป็นชั้นส�าหรับวางคัมภีร์นั้น

            แต่โบราณบรรจงจ�าหลักเส้นสายที่งดงาม           ไม่นิยมตกแต่งลวดลาย แต่ทาด้วยรักทึบ


















                                                                   ลายก�ามะลอตกแต่ง
                                                                  ส่วนขาตู้พระไตรปิฎก









                                                              ลายรดน�้าบนพื้นชาด รูปเทวดา
                                                              ประกอบลายดอกพุดตานบนบานตู้พระธรรม
                                                              ศิลปะล้านนา




                  “ตู้ลายทอง”  เป็นค�าที่มักใช้เรียกตู้      ขึ้นเมื่อใด แต่ถ้าหากพิจารณาลวดลายจาก

            พระไตรปิฎกที่ตกแต่งด้วยลายรดน�้า ลงรัก    ตู้พระธรรมที่เก็บรักษาไว้ในพิพิธภัณฑสถาน
            ปิดทองทั้งตู้ เป็นงานศิลปะไทยที่มีเอกลักษณ์  แห่งชาติ พระนคร และหอสมุดแห่งชาติ จะเห็น
            โดดเด่น คือ เป็นภาพที่ใช้สีเพียง ๒ สี คือ สีทอง  ความแตกต่างของรูปแบบในเชิงช่างที่โดดเด่น

            ของทองค�าและสีด�าของยางรัก หรือบางครั้ง      สามารถระบุยุคสมัยของงานศิลปะจากรูปแบบ
            เป็นสีทองบนพื้นหลังสีแดง ไม่ปรากฏหลักฐาน     ของลวดลายได้เป็น ๓ สมัย คือ สมัยอยุธยา

            ระบุแน่ชัดว่าสังคมไทยเริ่มเขียนลายรดน�้านี้   สมัยธนบุรี และสมัยรัตนโกสินทร์


                                                                      มีนาคม ๒๕๕๙ อยู่ในบุญ  65



                                                     65
   1   2   3   4   5   6