Page 5 - พระมหากษัตริย์ไทยกับพระไตรปิฎก ตอน ปฐมกษัตริย์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
P. 5

คัมภีร์ใบลานฉบับรองทรง                          คัมภีร์ใบลานฉบับทองชุบ

               นอกเหนือจากหน้าที่ปกป้องบ้านเมืองจากศัตรูผู้รุกรานในฐานะกษัตริย์ชาตินักรบ

          พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงมีพระราชจริยวัตรที่งดงามเป็นต้นแบบแก่

          พระมหากษัตริย์พระองค์อื่น ๆ ในรัชกาลต่อมา ทั้งงานสืบสานราชประเพณีด้านสถาปัตยกรรม
          ทางศาสนา งานรวบรวมคัมภีร์พระไตรปิฎกต่อจากบูรพกษัตริย์ จารจารึกจัดเก็บอย่างประณีต

          งดงามทรงคุณค่า และงานสนันสนุนส่งเสริมพระภิกษุสามเณรให้ศึกษาเล่าเรียนพระธรรมวินัย

          ส่งผลให้พระพุทธศาสนากลับมารุ่งเรืองทัดเทียมอาณาจักรไทยโบราณในกาลก่อน ยังขวัญและก�าลังใจ
          ให้เกิดแก่อาณาประชาราษฎร์ นับว่าพระองค์ทรงเป็นปฐมกษัตริย์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ที่ควรแก่

          การเคารพยกย่อง สมกับที่ปวงชนชาวไทยเฉลิมพระนามพระองค์ว่า “มหาราช”



          ก่องแก้ว วีระประจักษ์ และวิรัตน์ อุนนาทรวรางกูร. คัมภีร์ใบลานฉบับหลวงในสมัยรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ :
          กรมศิลปากร, ๒๕๔๖.

          ดินาร์ บุญธรรม. พระมหากษัตริย์ไทยกับพระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง, ๒๕๕๕.
          แน่งน้อย ศักดิ์ศรี, หม่อมราชวงศ์. สถาปัตยกรรมพระบรมมหาราชวัง. กรุงเทพฯ : ส�านักราชเลขาธิการ, ๒๕๓๑.





























           70    อยู่ในบุญ กรกฎาคม ๒๕๕๗                                                                                                                                     กรกฎาคม ๒๕๕๗ อยู่ในบุญ    71
           70
                 อยู่ในบุญ เมษายน ๒๕๕๘
   1   2   3   4   5   6