Page 5 - รอยลบ ที่ไม่ลบเลือน
P. 5

การแก้ไขข้อผิดพลาดด้วยวิธีต่าง ๆ ดังกล่าว
          มีผลต่อการท�าความสะอาดใบลานเพื่ออนุรักษ์
          เพราะหากใบลานขึ้นราต้องท�าความสะอาดด้วย
          แอลกอฮอล์บริสุทธิ์  ขณะเช็ดก็ต้องระวังไม่ให้
          แอลกอฮอล์โดนหมึกที่เขียนเพิ่มหรือที่แก้ไข
          เนื้อความ หรือสีที่ป้ายปิดข้อผิดพลาด มิเช่นนั้นอาจ
          ท�าให้หมึกละลายหรือสีที่ป้ายไว้หลุดออกได้ หรือ
          ในกรณีที่ตัวอักษรเริ่มจางและต้องลงหมึกสีด�าที่ได้
          จากเขม่าหรือถ่านบดละเอียดเพื่อเพิ่มความเข้ม
          หากไม่ระวังปล่อยให้หมึกไปโดนสีที่ป้ายไว้ เมื่อน�า
          ผ้าหรือส�าลีเช็ดออก จะเกิดรอยปื้นสีด�าบนหรดาล
          สีเหลืองหรือสีฝุ่น ท�าให้ใบลานดูไม่สวยงาม











                                       การเขียนแทรกเนื้อความ         การป้ายหรดาลเนื้อความที่จารผิด
         การเขียนทับตัวที่จารผิด
                                     ที่ขาดหายหรืออธิบายเพิ่มเติม


               ทุกเส้นจารที่ขีดเขียนลงบนใบลานนั้น     เพื่อไม่ให้ลูกหลานที่ตามมาศึกษาภายหลัง
          มีคุณค่า ที่ผู้จารบรรจงลงอักขระเพื่อส่งต่อ  เข้าใจและน�าไปใช้ผิด ๆ ซึ่งความเข้าใจผิดนั้น
          ความรู้  บอกเล่าประสบการณ์เป็นบันทึก        เป็นอันตรายที่บางครั้งอาจจะก่อให้เกิดภัย

          ประวัติศาสตร์ที่ส�าคัญไม่แพ้วัสดุชิ้นใดที่  ใหญ่หลวงได้ ใบลานที่จารผิดแม้ไม่สวยงาม
          มนุษยชาติเคยใช้บันทึกลายลักษณ์อักษร แต่     แต่ก็มีคุณค่า ท�าให้เรารู้ว่าใบลานนี้เกิดขึ้นจาก

          ในการประดิดประดอยสมบัติล�้าค่าชิ้นนี้ ไม่ว่า  ความตั้งใจไม่ใช่สักแต่ว่าจาร และยังบอกเล่าให้
          ผู้จารจะตั้งใจหรือไม่ก็ตาม ความเหนื่อยล้า  เรารู้ว่า ใบลานนี้มีผู้น�ามาศึกษา ไม่ใช่จารเอาไว้
          ความรู้เท่าไม่ถึงการณ์  อาจท�าให้เกิดการผิดพลาด  บูชา แต่ไม่เคยน�าถ้อยค�าสอนและประสบการณ์

          ขึ้นในระหว่างการจารใบลานได้ แต่เมื่อผิดพลาด  ล�้าค่าเหล่านั้นมาศึกษาเรียนรู้ เพื่อน�ามาใช้ให้
          แล้วผู้จารได้แก้ไขตามกรรมวิธีต่าง ๆ หรือมี  เกิดประโยชน์ขึ้นแก่ตนเองและผู้อื่นเลย
          การอ่านทวนโดยผู้รู้  เมื่อพบข้อผิดพลาด

          จึงได้แก้ไขให้ถูกต้อง  แต่ด้วยลักษณะทาง
          กายภาพของใบลานที่อย่างไรก็ไม่อาจลบค�า
          หรือส่วนที่จารผิดให้เลือนหายได้  ผู้จารหรือ

          ผู้แก้ไขจึงได้ท�าในสิ่งที่ดีที่ีสุดที่นวัตกรรมสมัย
          นั้น ๆ จะเอื้ออ�านวย แก้ไขสิ่งผิดพลาดให้ถูกต้อง




         สุรสิทธิ์ ไทยรัตน์. (๒๕๕๖). คัมภีร์ใบลานในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

           80 อยู่ในบุญ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐
   1   2   3   4   5